ก๊าซออกซิไดส์ คือ ก๊าซใด ๆ ที่โดยทั่วไปจะให้ออกซิเจนออกมา อาจเป็นสาเหตุหรือมีส่วนทำให้เกิดการ เผาไหม้วัสดุอื่นมากกว่าที่อากาศทั่วไปสามารถทำได้
เกณฑ์การจำแนกประเภท
ก๊าซออกซิไดส์จำแนกได้เพียงกลุ่มเดียว ตามตารางต่อไปนี้:
หมายเหตุ: อากาศที่ผลิตขึ้น (Artificial air) ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจน 23.5% โดยปริมาตร อาจพิจารณาว่าไม่เป็นสาร ออกซิไดส์เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายบางอย่าง (เช่น กฎระเบียบของการขนส่ง)
การสื่อสารความเป็นอันตราย
ได้จัดให้มีข้อพิจารณาทั่วไปและข้อพิจารณาเฉพาะเกี่ยวกับข้อกำหนดในการติดฉลากไว้ใน การสื่อสาร ความเป็นอันตราย: การติดฉลาก ได้จัดทำตารางสรุปเกี่ยวกับการจำแนกประเภทและการติดฉลากไว้ใน ภาคผนวก 2 และในภาคผนวก 3 โดยมีตัวอย่างข้อความที่เป็นคำเตือนและรูปสัญลักษณ์ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจากพนักงานเจ้าหน้าที่
แนวทางและกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่ม
แนวทางและกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่มต่อไปนี้ไม่ได้เป็นส่วนของระบบการจำแนก ประเภทตาม GHS แต่ได้จัดไว้ให้มีในที่นี้เพื่อเป็นแนวทางเพิ่มเติม จึงขอแนะนำให้ผู้ที่รับผิดชอบในการจำแนกประเภท ศึกษาเกณฑ์ก่อนและในระหว่างการใช้กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่มนี้
กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่ม
เพื่อจำ แนกก๊าซออกซิไดส์ ควรดำ เนินการด้วยวิธีการทดสอบหรือคำ นวณตามที่กำ หนดไว้ใน ISO 10156:1996 Gases and gas mixtures – Determination of fire potential and oxidizing ability for the selection of cylinder valve outlet
ตัวอย่างการจำแนกประเภทของก๊าซผสมออกซิไดส์ (oxidizing gas mixture) โดยการคำนวณตาม ISO-10156
ถ้าก๊าซผสมมีค่า 0.6 % F2 ในไนโตรเจน การคำนวณเทียบเท่าหาได้จาก
เกณฑ์การจำแนกประเภท
ก๊าซออกซิไดส์จำแนกได้เพียงกลุ่มเดียว ตามตารางต่อไปนี้:
หมายเหตุ: อากาศที่ผลิตขึ้น (Artificial air) ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจน 23.5% โดยปริมาตร อาจพิจารณาว่าไม่เป็นสาร ออกซิไดส์เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายบางอย่าง (เช่น กฎระเบียบของการขนส่ง)
การสื่อสารความเป็นอันตราย
ได้จัดให้มีข้อพิจารณาทั่วไปและข้อพิจารณาเฉพาะเกี่ยวกับข้อกำหนดในการติดฉลากไว้ใน การสื่อสาร ความเป็นอันตราย: การติดฉลาก ได้จัดทำตารางสรุปเกี่ยวกับการจำแนกประเภทและการติดฉลากไว้ใน ภาคผนวก 2 และในภาคผนวก 3 โดยมีตัวอย่างข้อความที่เป็นคำเตือนและรูปสัญลักษณ์ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจากพนักงานเจ้าหน้าที่
แนวทางและกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่ม
แนวทางและกระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่มต่อไปนี้ไม่ได้เป็นส่วนของระบบการจำแนก ประเภทตาม GHS แต่ได้จัดไว้ให้มีในที่นี้เพื่อเป็นแนวทางเพิ่มเติม จึงขอแนะนำให้ผู้ที่รับผิดชอบในการจำแนกประเภท ศึกษาเกณฑ์ก่อนและในระหว่างการใช้กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่มนี้
กระบวนการตัดสินใจโดยใช้ผังการแบ่งกลุ่ม
เพื่อจำ แนกก๊าซออกซิไดส์ ควรดำ เนินการด้วยวิธีการทดสอบหรือคำ นวณตามที่กำ หนดไว้ใน ISO 10156:1996 Gases and gas mixtures – Determination of fire potential and oxidizing ability for the selection of cylinder valve outlet
ตัวอย่างการจำแนกประเภทของก๊าซผสมออกซิไดส์ (oxidizing gas mixture) โดยการคำนวณตาม ISO-10156
ถ้าก๊าซผสมมีค่า 0.6 % F2 ในไนโตรเจน การคำนวณเทียบเท่าหาได้จาก
0.6%(F2) + 99.4%(N2)
ค่าสัมประสิทธิ์ของออกซิเจนเทียบเท่า (Ci) สำหรับ F2 = 40
40 x 0.6 = 24 > 21
ดังนั้น พิจารณาได้ว่าก๊าซผสมนี้ มีก๊าซออกซิไดส์มากกว่าอากาศ